วันอาทิตย์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

The Evolution of E-Book ( ต่อ ) + E Journal

การเข้าถึง
-                   Offline >> หนังสืออิเล็กทรอนิกส์นิยมใช้เป็น ออฟไลน์ ถ่ายโอนมาที่เครื่อง
-                   Online >>  อ่านผ่านเครือข่าย ใช้โปรแกรมอ่าน

Implementation  of  E Book
1.   Downloadable  >> สามารถดาวน์โหลดได้เลย
2.   Dedication E - Book >> เปิดอ่านบน อินเทอร์เน็ตไม่ได้ต้องอ่านผ่านโปรแกรม เช่น amazon ใช้ kindle 
3.   Web accessible E Book >> เปิดอ่านได้ทันที เป็นการให้บริการเชิงพาณิชย์ ซื้อฐานข้อมูลและไม่ต้องจัดทำ   ใดๆเลย สามารถโอนเข้า OPAC อัตโนมัติเลย

>> E - Book  ออกเร็วจริง  แต่ ไม่ใช่  Core และไม่ใช่หนังสือขายดี  ห้องสมุดควรซื้อ หนังสืออ้างอิง ดังนั้นห้องสมุดจึงนิยมบอกรับ สารานุกรม และ ฐานข้อมูล Reference  แต่พบปัญหาคือ   ห้องสมุดบอกรับ แต่ไม่มีใครใช้
การนำมาให้บริการในห้องสมุด  >> ควรมีบนหน้า OPAC   ตัวอย่างเช่น  Mobile Access to E Book @ Yale University


E Journal

E Journal 
การจัดทำวารสาร
1. วัสดุสิ่งพิมพ์
2. วัสดุย่อส่วน ในไมโครฟิช เก็บได้ 200 ปี 
3. ในรูปแบบฐานข้อมูลซีดีรอม 
4. ในรูปแบบวารสารอิเล็กทรอนิกส์   national geographical เป็นเล่มแรกๆ ไฟล์อาจเสียหายได้ง่ายๆ

ชื่อเรียก
-                   EJournal
-                   Online journal
-                   Internet journal
-                   Cyber journal

รูปแบบไฟล์
-                   PDF tradition to eclectronic format
-                   ABS  กำลังมาแรงในวงการวารสาร 
-                   Scan  trif , gif  , jpeg 
-                   HTML
ประเภท 
1.  ทำซ้ำฉบับพิมพ์   
2.  ทำเป็นดิจิทัล born digital titles

วิธีการจัดทำอิเล็กทรอนิกส์ 
1. วารสารอิเล็กทรอนิกส์โดยวิธีสแกน
2. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ผลิตจากกระบวนการพิมพ์  >> ตั้งใจทำออกมาทั้งสองรูปแบบ ทั้งสิ่งพิมพ์ และ อิเล็กทรอนิกส์
3. วารสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์  >>  ในรูปแบบดิจิทัล ให้บริการบนอินเทอรเน็ต 

The Evolution of E-Book ( ต่อ )

ข้อด้อย
-                   ต้องอาศัยเครื่องอ่าน
-                   ต้องใช้พลังงานไฟฟ้า
-                   หายง่าย
-                   บางไฟล์ไม่สามารถอ่านได้ ต้องอาศัยเครื่องอ่านเฉพาะไฟล์เท่านั้น
-                   เปราะบาง เสียหายง่าย
-                   ไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ ถูก Hack Crack ได้ 

Electronic Book มี 3 แบบ
1.  สิ่งพิมพ์ ปรับเป็นอิเล็กทรอนิกส์ >> Gutenberg Project use OCR
2.  จัดทำใน รูปแบบ CD และเปลี่ยนเป็น HTML
3.  เริ่มจัดทำโดยใช้เทคโนโลยีเลย เกิดขึ้นมาก็เป็น Digital เลย

Book Scanner
Book scan >> เครื่องสแกน สำหรับถ่ายหนังสือโดยเฉพาะ
ลักษณะการทำงานของเครื่องสแกน  สามารถสแกนได้ประมาณ 2,000 เล่มต่อวัน  ราคาประมาณ 200,000 บาท
 
OCR
OCR  >> โปรแกรมอ่าน Text จากภาพ
โดยการนำ ข้อมูลจากหนังสือ มาทำหารสแกน ด้วยเครื่องสแกน จากนั้นนำไปเข้าโปรแกรมประเภท OCR มาทำการแปลงภาพที่ได้ ให้อยู่ในรูปแบบของ  MS Word จากนั้นนำมาแต่งเพิ่มเติมได้
  
รูปแบบของ E – Book
1.   Self publishing
ตัวอย่าง http://www.shelsilverstein.com/html/home.html  ใช้ flat ในการทำ E-Book
 http:// www.2ebook.com/mainpage.php ของไทย
2.   Commercial
3.   Education

Software ในการจัดทำ E – Book
-                   ExeBook
-                   e-Editor
-                   Mobipocket Publisher 3.0
-                   Desktop Author
-                   eBookGold
-                   E Book crator
-                   Flip Alablum

Software ในการอ่าน E –Book
-                   Browser
-                   Adobe
-                   MS Reader

ข้อดีของการให้บริการ E – Book สำหรับห้องสมุด
-   ผู้ใช้สามารถเข้าถึงได้จำนวนมากขึ้นในครั้งเดียวกัน
-   สามารถจัดการรูปแบบของความร่วมมือ ในการจัดซื้อ ประหยัดงบประมาณ และสามารถเข้าถึงสารสนเทศได้ในปริมาณที่มากขึ้น
            -    สามารถสนองความต้องการที่มีความต้องการได้ข้อมูลทันที
-    การจัดเก็บสามารถจัดเก็บได้สะดวกขึ้น  สามารถทำสำเนาได้ง่าย ไม่เปลืองกระดาษ และไม่ต้องทำซ้ำซ้อน ไม่เปลืองพื้นที่ในการจัดเก็บ
-    ห้องสมุดสามารรถจัดทำ สิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ และสามารถใช้บริการออนไลน์ได้
-    เทคโนโลยีใหม่ที่ห้องสมุดนำมาใช้ในการบริการได้มากขึ้น Blog wiki RSS OSS
-     การบอกรับห้องสมุด เป็นลักษณะการได้รับอนุญาตให้ใช้ lisence
-     ลดงาน การขึ้นชั้น การตรวจ ยืม - คืน

ข้อเสียของการให้บริการ E – Book สำหรับห้องสมุด

-    ขั้นตอนการจัดทำทรัพยากรในรูปแบบใหม่ บุคคลากรจึงต้องได้รับการฝึกฝนใหม่ เกี่ยวกับการจัดดารให้บริการหรือ ต้องการบุคคลากรกลุ่มใหม่
-    อุปกรณ์สำหรับใช้อาจต้องเพิ่มงบประมาณ จัดซื้อ ดูแลรักษา
-    การดูแลรักษา  อุปกรณ์ที่ต้องให้บริการร่วม Reader device
-    ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจาการขาด Reader device
-     Development model
            -    การจัดบริการเป็นเรื่องใหม่ แตกต่างจากการให้บริการสิ่งพิมพ์





วันเสาร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

The Evolution of E-Book

The Evolution of E-Book

ทรัพยากรสารสนเทศมี 2 ประเภท คือ
1.  ทรัพยากรสารสนเทศประเภท สื่อสิ่งพิมพ์ 
2.  ทรัพยากรสารสนเทศประเภท สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 

เนื่องด้วยยุคแห่งเทคโนโลยี จึงส่งผลให้ทรัพยากรสารสนเทศเปลี่ยนรูปแบบเป็น อิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น  ปัจจุบัน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หรือ E – Book จึงได้รับความนิยมมากขึ้น
ซึ่งสาเหตุที่ทำให้ E – Book ได้รับความนิยมมากว่า เนื่องจาก E – Book สามารุนำเสนออกมาได้น่าสนใจกว่า ด้วยการผสมสื่อมัลติมีเดีย เช่น  ภาพ เสียง วีดีโอ  linked เข้าไป  และทรัพยากรสารสนเทศประเภท  E- Book  ยังง่ายต่อการเข้าถึง  เพราะสามารถเข้าถึงได้หลากหลายทางมากกว่าและสามารถที่จะเข้าถึงได้ ทุกที่ ทุกเวลา 

E – Book Reader >>  คือ เครื่องมือ อุปกรณ์สื่อสาร ที่ใช้ในการเปิดอ่าน E- Book  เช่น   Palm , iPhone  , iPad ,  Sony Reader , Kindle  เป็นต้น  



Format  >> ประกอบด้วยหลากหลายนามสกุลไฟล์ เช่น  PDF , ePub , eReader , HTML , Text (Txt) , iPhone PDF,  iPhone Book app เป็นต้น 

E – Book Reader >>  มักจะสนับสนุนไฟล์ของตัวเองเท่านั้น  แต่ละนามสกุลจึงเหมาะกับเครื่องอ่านของแต่ละประเภทเท่านั้น   ดังนั้น E- Book จึงถูกผลิตออกมา หลากหลายนามสกุล เพื่อที่จะสามารถอ่านได้จากหลากหลายเครื่องอ่าน

ePub >> เป็นตัวแก้ปัญหา  เพราะเป็นไฟล์มาตรฐาน ที่มีคุณสมบัติให้สามารถแปลงไฟล์ได้หลากหลายนามสกุลไฟล์
- เป็นมาตรฐาน
- สามารถปรับขนาดได้
- ไม่ใช้ในเชิงการค้า
- มี DRM คุ้มครองเรื่อง ลิขสิทธิ์
- สามารถแปลงไฟล์เป็นไฟล์รูปแบบอื่นได้ ในขณะที่นามสกุลอื่นทำไม่ได้
- มีเครื่องอ่านหรือโปรแกรมที่สามารถอ่าน  ePub หลากหลาย เช่น adobe , OverDrive  , Kindle , Sony Reader

คุณสมบัติ  E – Book  Reader
- ค้นภายในเนื้อหา
- บันทึกทุกข้อความ
- คัดลอกและวาง
- มีพจนานุกรม
- สามารถเน้นข้อความ และเพิ่มเติมข้อความ
- ปรับขยาย ตำแหน่ง
- อ่านออกเสียงได้
- เชื่อมโยง ( Hyperlink ) ( บางตัวโยงไปสารานุกรมให้ด้วย )
- สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้
- ดีต่อสิ่งแวดล้อม

Microsoft reader >> เป็น software ที่เราเอามาเปิดอ่าน E – book ได้ สามารถดาวน์โหลด เก็บไว้อ่านได้ฟรี โดยตัวโปรแกรม สามารถอ่านให้ฟังได้ด้วย  นาสมกุล lit ที่สามารถบันทึกได้จาก  Microsoft word  

ประวัติ
-          ประเทศญี่ปุ่น  ชาวญี่ปุ่นที่นิยมใช้โทรศัพท์มือถือ จึงเกิดแนวความคิด mobile phone sale of eBook ขึ้น
-          แนวคิดในเรื่อง หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ ได้ปรากฏ ในนิยายทางวิทยาศาสตร์ ตั้งแต่ปี 1940
 - The Foundation
 - Star War
 - Time Machine
-          เขียนกล่าวถึง 20 ปี มาแล้วใน " Hitchiker's Guide to the Galaxy 1979 "

ปัจจุบันเทคโนโลยีก้าวหน้า ราคา E – book จะยิ่งลดลงมาก เพราะแนวโน้มการใช้ E – Book ที่เพิ่มขึ้น จึงปรากฏเว็บไซด์หลากหลายเว็บไซด์ที่ให้บริการ ดาวน์โหลด E – book  เช่น  E Book.com  >> ให้ดาวน์โหลดไฟล์ได้หลายรูปแบบ , fictionwise.com >>  ขาย fiction และมีรูปแบบหลายนามสกุลให้ดาวน์โหลดเช่นกัน

ข้อดีของ E –Book
-          ไม่แพง
-          ไม่เปลืองที่จัดเก็บ
-          เข้าถึงได้ตลอดเวลา ไม่ต้องรอเวลา สามารถหาอ่านได้ทันที ที่ทำการเผยแพร่
** ผลวิจัย เด็กอ่าน E-Book  ดีกว่า เพราะน่าสนใจ มีสื่อมัลติมีเดียมากมาย  ช่วยพัฒนาการ การอ่านดีกว่าอ่านจาก   หนังสือเล่ม  เห็นภาพ จินตนาการดีกว่า

ข้อด้อยของ E –Book
- เพิ่มการคัดลอก เรื่องละเมิด ลิขสิทธิ์  เนื่องจากนำไปใช้ได้ง่าย 
- การอ่านผ่านจอ คอมพิวเตอร์  จะทำให้สานตาจะเสื่อมเร็วกว่าปกติ
- ขึ้นอยู่กับความสามารถของซอฟต์แวร์ ( Software Capability )



วันอาทิตย์ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

Gold OA : Open Access Journal


Gold OA  :  OA Journal


Gold OA  :  OA Journal
Gold OA : OA Journal วารสาร หรือ บทความ ที่เผยแพร่บทความ บนเว็บไซต์สาธารณะทั่วไป ที่ให้บริการในรูปแบบออนไลน์  โดยตัวผู้แต่งเองจะเป็นผู้ดำเนินการ และจัดการเอง

ลักษณะของ OA Journal  
1.     เป็นวารสารบทความทางวิชาการ
2.     มีคุณภาพ ลักษณะเหมือนวารสารทั่วไป เช่น  editorial oversight and copy editing เป็นต้น
3.     เป็นบทความดิจิทอล ( digital )
4.     ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการเข้าถึง และใช้บริการ
5.     ผู้แต่งยังคงมีสิทธิ์ในตัวบทความนั้นอยู่
6.     ผู้แต่งสามารถใช้ CC หรือ licenses อื่น ๆ ได้

OA Journal publishers -  types
1.       Born OA Publishers  >>   วารสารที่ไม่เคยตีพิมพ์เผยแพร่มาก่อน
2.       Conventional Publishers  >>  วารสารเชิงพาณิชย์
3.       Non-Traditional Publishers  >>  วารสารที่จัดทำขึ้นโดยไม่หวังผลกำไร 



Implementing Open Access

Open Access

Implementing Open Access

Green OA  :  OA Archives or Repositories
                Green OA  คือ  เอกสาร บทความ รวมไปถึง วารสาร  ที่ผู้แต่งนำส่งสำนักพิมพ์ ตีพิมพ์ทั่วไป  แต่ผู้เขียนยังคงมีสิทธิ์ ในการเก็บ บทความดังกล่าวนั้น มาเผยแพร่ในเว็บไซด์ของตนเอง หรือ IR เพื่อนำไปเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ต
Gold OA     :  OA Journal
                Gold OA   คือ   วารสาร หรือ บทความ ที่เผยแพร่บทความ บนเว็บไซต์สาธารณะทั่วไป ที่ให้บริการในรูปแบบออนไลน์  โดยตัวผู้แต่งเองจะเป็นผู้ดำเนินการ และจัดการเอง

Self – Archives 

รูปแบบการนำเสนอ  Self – Archiving
1.       Author’s Personal Website  >>    นำเสนอบนเว็บไซด์ส่วนตัวของผู้แต่งเอง  โดยผู้แต่งยังคงอนุญาตให้ ผู้อ่านสามารถ เข้าดาวน์โหลดบทความได้ด้วย ทั้งรูปแบบ PDF File , HTML , Word และ E – Print   
2.       Disciplinary Archives >>  จัดเก็บ บทความ บนคลังจัดเก็บเอกสาร  เฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง หรือ เฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง  เช่น   http://dl.kids-d.org/  เป็นต้น
3.       Institutional – Unit Archives  >>   จัดเก็บ เผยแพร่เป็นหน่วยงานย่อยภายใต้ สถาบัน  เช่น หน้าเว็บเพจของ Duke Law Scholarship Reposition เป็น หน่วยย่อย ของเว็บไซด์ Duke Law เป็นต้น
4.       Institutional – Repositories  >>  เผยแพร่บทความ บนหน้าเว็บไซด์ของ สถาบันต่างๆ เอง  เช่น  CUIR       ( Chulalongkorn University Intellectual Repository )